ตำราเรียน
“สีสันจากในสวน”
โดย
รองศาสตราจารย์ประภากร สุคนธมณี
สีธรรมชาติที่ใช้ในการย้อม ได้จากพืชพันธุ์ในสวน ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ และผล อีกทั้งขบวนการย้อมมิได้ใช้สารเคมีใดๆ
มีเพียงสารจากธรรมชาติช่วยย้อม เช่น น้ำด่าง ได้จากเถ้าของส่วนต่างๆของเปลือกต้นกล้วย น้ำโคลน ได้จากดินในบ่อน้ำในสวน
ที่มีขังอยู่ตลอดปี กระบวนการย้อมสีธรรมชาติทั้งหมดนี้ จึงไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆต่อสิ่งแวดล้อมและผู้คนรอบข้างทั้งสิ้น
สีสันจากธรรมชาติ สวยงามมากค่ะ
ดีใจจังไม่รู้จะพูดยังไงดีที่มีคนรุ่นใหม่สานต่อ
ขอบคุณมากค่ะ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย นะคะ
ด้วยกระแสของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การใช้วัสดุจากธรรมชาติถือเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก มีข้อดีมากกว่าข้อเสีย แต่ไม่ทราบว่า “ต้นทุน” ของการย้อมด้วยวัสดุธรรมชาติจะมีผลต่อการนำไปใช้งานจริงหรือไม่ ประกอบกับวัสดุในสวนถึงแม้จะมีมากในธรรมชาติแต่ด้วยกระบวนการขั้นตอนที่ต้องประณีตและไม่อาจทำข้ามขั้นตอนได้ น่าจะมีการคิดต้นทุนทั้ง เวลาและค่าใช้จ่าย หรือทำให้เป็นสีที่กึ่งสำเร็จรูปพร้อมใช้งานอย่างสะดวก อนึ่งหากนำวัสดุที่เหลือใช้จากการเกษตรมาทำการทดลองเพิ่มก็น่าที่จะช่วยลดมลพิษได้อีกทางหนึ่ง เช่น เปลือกข้าวโพด ที่ทุกวันที่มีการเผาทิ้งกันมาก เศษรากไม้ต่างๆ ก็มีการเผาทิ้งไปไม่น้อย
ขอแสดงความนับถือ
อำนาจ
ขอบคุณมากค่ะ ^_^
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย นะคะ
อ่านแล้วจ้าสรุปได้ดังนี้ เป็นเรื่องบังเอิญที่ผู้เขียนได้แรงบันดาลใจจากซากตันสุพรรณนิการ๋ที่ตาย นำมาจุดประกายในการทำสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติ ผู้เขียน เกิดความเสียดายและเป็นแรงบันดาลใจที่ว่
า ทำอย่างไรจะให้ต้นไม้ที่ตายไช้ประโยชน์ได้อีก ซึ่งผู้เขียนเองมีความเชียวชาญในเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมอยู่แล้ว ก็เลยจุดประกาย นำต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้รวมทั้งผลไม้บางชนิดที่อยู่ในสวนและเคยเห็นมาตั้งแต่ยังเด็กๆสามารถนำมาต่อยอด ได้สีย้อมผ้าที่หลากหลายและแตกต่างกันไป รู้สึกชื่นชมผู้เขียนที่สามารถมองเห็นความแตกต่างสีสันของพรรณไม้นาๆชนิด การเขียนก็เขียนเข้าใจง่ายทำให้ผู้อ่านจินตนาการตามเนื้อเรื่อง และผู้สนใจสามารถนำไปทดลองการย้อมด้วยตนเอง
ขอบคุณมากนะคะ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย นะคะ
อ่านแล้วจ้าสรุปได้ดังนี้ เป็นเรื่องบังเอิญที่ผู้เขียนได้แรงบันดาลใจจากซากตันสุพรรณนิการ๋ที่ตาย นำมาจุดประกายในการทำสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติ ผู้เขียน เกิดความเสียดายและเป็นแรงบันดาลใจที่ว่า ทำอย่างไรจะให้ต้นไม้ที่ตายไช้ประโยชน์ได้อีก ซึ่งผู้เขียนเองมีความเชียวชาญในเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมอยู่แล้ว ก็เลยจุดประกาย นำต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้รวมทั้งผลไม้บางชนิดที่อยู่ในสวนและเคยเห็นมาตั้งแต่ยังเด็กๆสามารถนำมาต่อยอด ได้สีย้อมผ้าที่หลากหลายและแตกต่างกันไป รู้สึกชื่นชมผู้เขียนที่สามารถมองเห็นความแตกต่างสีสันของพรรณไม้นาๆชนิด การเขียนก็เขียนเข้าใจง่ายทำให้ผู้อ่านจินตนาการตามเนื้อเรื่อง และผู้สนใจสามารถนำไปทดลองการย้อมด้วยตนเอง